FACT SHEET Germany April 2023

ข้อมูลทั่วไป

  • เมืองหลวง : กรุงเบอร์ลิน
  • เมืองสำคัญ : มิวนิค โคโลญจน์ แฟรงก์เฟิร์ต และสตุตการ์ด
  • เมืองท่าสำคัญ : ฮัมบวร์ก และเบรเมน
  • พื้นที่ : 357,021 ตร.กม. (ไทย 513,120 ตร.กม.)
  • จำนวนประชากร : 84.27 ล้านคน (09.2022)
  • อาณาเขต :
  • ทิศเหนือ ติดทะเลเหนือ, ทะเลบอลติก และเดนมาร์ก
  • ทิศตะวันตก ติดฝรั่งเศส, ลักเซมเบิร์ก, เบลเยี่ยม และเนเธอร์แลนด์
  • ทิศตะวันออก ติดโปแลนด์ และสาธารณรัฐเช็ก
  • ทิศใต้ ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์
  • ภาษาราชการ : เยอรมัน
  • ศาสนา : ศาสนาคริสต์คาทอลิก (34%), โปรแตสแตนต์ (34%), อิสลาม (3.7%) และศาสนาอื่น/ไม่มีศาสนา (28.3%)
  • สกุลเงิน : ยูโร (Euro)
  • เวลาประเทศ : การแบ่งเวลาของประเทศเป็นแบบยุโรปตอนกลาง ซึ่งช่วงเดือน พ.ย. – มี.ค. เวลาจะช้ากว่าไทย 6 ชม. ในช่วงเดือน เม.ย. – ต.ค. เวลาช้ากว่าไทย 5 ชม.
  • ระบอบการปกครอง : แบบสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไดยแบบรัฐสภา
  • Head of State (ประธานาธิบดี): Frank-Walter Steinmeier
  • Head of Government (นายกรัฐมนตรี): Mr. Olaf Scholz

 

เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ

2021

2022

2023

(ไตรมาส 1)

GDP (พันล้านยูโร)
3,563.9
3,867.1
1,003.51
GDP Growth (%)
2.9%
1.8%
0.0
Good & Services Export (%change)
-1.1% (ก.พ.)
15.4% (ก.พ.)
6.4% (ก.พ.)
Inflation (%)
1.8% (มี.ค.)
5.9% (มี.ค.)
7.4% (มี.ค.)
Unemployment Rate (%)
4.2% (ก.พ.)
3.3% (ก.พ.)
3.0% (ก.พ.)

 

แนวโน้มเศรษฐกิจ

ดัชนีความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจของสถาบันเพื่อการวิจัยทางเศรษฐกิจมหาวิทยาลัยมิว นิค (Ifo – Institut für Wirtschaftsforschung an der Universität München (ดัชนี Ifo) ทยอยกลับมาดีขึ้นอย่างช้า ๆ  โดยตัวเลขค่าดัชนี Ifo ได้ปรับตัวขึ้นเป็น 93.6 จุด ในเดือน เม.ย. 66 จาก 93.2 จุด ในเดือน มี.ค. 66 ซึ่งส่วนใหญ่แป็นเพราะภาคเอกชนกลับมาคาดหวังว่าสถานการณ์การประกอบธุรกิจในอนาคตน่าจะปรับตัวดีขึ้นไปอีกเป็นหลัก แต่ส่วนใหญ่ก็ยังเห็นว่าสถานการณ์ในปัจจุบันไม่ได้ดีนัก ความกังวลของบริษัทเยอรมันกำลังผ่อนคลายตัวลง แต่ภาคเศรษฐกิจของประเทศขาดแรงผลักดันที่ดีจนทำให้ไม่สามารถขยายตัวอย่างจริงจัง

  1. ดัชนีธุรกิจสินค้า Intermediate Goods (สินค้าที่นำไปประกอบหรือเป็นชิ้นส่วนเพื่อผลิตเป็นสินค้าสำเร็จรูป) ขยายตัวขึ้นเล็กน้อย โดยส่วนใหญ่คาดการณ์ว่า สถานการณ์ทางเศรษฐกิจในอนาคตของตนน่าจะดีขึ้น แต่ส่วนใหญ่ก็เห็นว่าสถานการณ์การประกอบธุรกิจในปัจจุบันไม่ได้ดีอย่างที่หวังไว้ อย่างไรก็ตามมีแนวโน้มที่ผู้ผประกอบการการขยายการผลิตในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้า โดยในปัจจุบันมีการขยายกำลังการผลิตเพิ่มขึ้นจาก 84.3% เป็น 84.5% ซึ่งสูงกว่าอัตราเฉลี่ยระยะยาวที่ อยู่ที่ 83.6%
  2. ดัชนีธุรกิจบริการ ในที่สุดดัชนีดังกล่าวหยุดการขยายตัวหลังจากที่ขยายตัวติดต่อกันมาหลายเดือน ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เห็นว่า สถานการณ์ในปัจจุบันแย่กว่าที่คาดหมาย อีกทั้ง การประเมินเชิงลบเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจในเดือนที่จะมาถึงกลับมาขยายตัวขึ้นอีกครั้งเป็นครั้งแรกในรอบหลายเดือน
  3. ดัชนีการค้า กลับมาลดตัวลงเล็กน้อย ผู้ค้าเริ่มไม่พอใจกับการค้าในปัจจุบัน และคาดการณ์ว่าในอนาคตน่าจะแย่ลงไปอีก ซึ่งทำให้ค่าประเมินในอนาคตเปิดเชิงลบมากขึ้น
  4. ดัชนีธุรกิจก่อสร้าง ยังคงขยายตัวต่อไป หลังจากที่ลดตัวลงหลายเดือน และการประเมินสถานการณ์ในอนาคตกลับมาดีขึ้นไปอีก โดยการประเมินสถานการณ์ปัจจุบันอยู่ระดับต่ำสุดนับตั้งแต่เดือนธันวาคม 2015 เป็นต้นมา

สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศไทยกับเยอรมนี : เยอรมนีเป็นคู่ค้าสำคัญลำดับที่ 14 ของประเทศไทย

เป้าหมายส่งออก

มูลค่าการค้ารวม (ล้าน USD)

มูลค่าการส่งออก (ล้าน USD)

มูลค่าการนำเข้า (ล้าน USD)

2022

2023

2022

2023

2022

2023

(ม.ค.-มี.ค.)

+/- (%)

(ม.ค.-มี.ค.)

+/- (%)

(ม.ค.-มี.ค.)

+/- (%)

10,846.97
2,662.85
-4.00
4,769.32
1,127.65
-7.59
6,077.65
1,535.20
-1.19
ที่มา: tradereport.moc.go.th

สินค้าส่งออกของไทยไปตลาดเยอรมนีปี 2022 และ 2023 (หน่วย: ล้าน USD)

อันดับ

สินค้า

2022

2022

(ม.ค.-มี.ค.)

2023

(ม.ค.-มี.ค.)

+/- (%)

1
แผงวงจรไฟฟ้า
517.68
128.66
147.36
14.53
2
อัญมณีและเครื่องประดับ
577.98
143.97
119.44
-17.04
3
เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ
512.83
139.52
105.61
-24.30
4
เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ
166.61
49.35
64.26
30.21
5
หม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ
86.40
18.86
42.82
127.08
6
เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่องจักรกล
186.63
46.46
40.76
-12.27
7
ผลิตภัณฑ์ยาง
237.11
62.84
40.75
-35.16
8
เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์ และส่วนประกอบ
113.61
34.72
37.44
7.84
9
เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์
125.12
29.79
32.46
8.98
10
รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ
156.62
39.03
31.74
-18.67
รวม 10 รายการ
2,680.60
693.19
662.64
-4.41
อื่น ๆ
2,088.72
527.01
465.01
-11.77
มูลค่ารวม
4,769.32
1,220.20
1,127.65
-7.59
ที่มา: tradereport.moc.go.th

สินค้าหลักที่ไทยนำเข้าจากเยอรมนีปี 2022 และ 2023 (หน่วย: ล้าน USD)

อันดับ

สินค้า

2022

2022

(ม.ค.-มี.ค.)

2023

(ม.ค.-มี.ค.)

+/- (%)

1
เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ
982.70
269.16
238.98
-11.21
2
เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ
589.48
139.18
144.34
3.71
3
เคมีภัณฑ์
579.81
144.77
140.03
-3.27
4
ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม
666.14
188.36
127.78
-32.16
5
เครื่องมือเครื่องใช้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ การแพทย์
406.32
95.33
119.55
25.41
6
ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์
472.09
99.70
119.31
19.68
7
แผงวงจรไฟฟ้า
260.06
62.63
90.13
43.92
8
เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ
331.97
101.53
75.46
-25.68
9
ปุ๋ย และยากำจัดศัตรูพืชและสัตว์
85.95
14.85
39.01
162.68
10
รถยนต์นั่ง
118.53
31.42
37.93
20.71
รวม 10 รายการ
4,493.04
1,146.93
1,132.52
-1.26
อื่น ๆ
1,584.61
406.71
402.68
-0.99
รวมทั้งสิ้น
6,077.65
1,553.64
1,535.20
-1.19
ที่มา: tradereport.moc.go.th

สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน

ที่มา : กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (สค.)

Login