นายบุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนด้านการพาณิชย์ (กรอ.พณ.)
การประชุมคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนด้านการพาณิชย์ (กร […]
การประชุมคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนด้านการพาณิชย์ (กร […]
นายภูสิต รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า แถลงข่าว “ภาวะการค้าระหว่างประเทศของไทย ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564” เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 25 มีนาคม 2564 ณ ห้องตรีรัตนพร สำนักงานนโยบายและยุุทธศาสตร์การค้า ภาพรวมการส่งออกไทยเดือนกุมภาพันธ์ 2564 มีมูลค่า 20,219.01 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หดตัวร้อยละ 2.59 เมื่อหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และยุทธปัจจัย พบว่าการส่งออกขยายตัวสูงถึงร้อยละ 2.87 สะท้อนการเติบโตจากภาคเศรษฐกิจจริง (Real Sector) ภาพรวมของการส่งออก 2 เดือนแรกของปี 2564 ยังคงหดตัวที่ร้อยละ 1.16
ภาวะการค้าระหว่างประเทศของไทยประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564& […]
เมื่อวันที่ 1 […]
เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 นายภูสิต รัตนกุล เสรีเริงฤทธ […]
พิธีพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ชั้นสายสะพาย ประจำปี […]
สถานการณ์ราคาสินค้าและบริการ เดือนกุมภาพันธ์ 2564 […]
🙏 ขอบคุณบทความจาก กองนโยบายการสร้างความเข้มแข็งทางการค้า (นข.)
นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นประธาน การประชุมคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนด้านการพาณิชย์ (กรอ.พาณิชย์) ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุมกิติยากรวรลักษณ์ ชั้น 4 สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยมีสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า เป็นฝ่ายเลขาฯ
ผลจากการประชุมครั้งนี้ กระทรวงพาณิชย์และภาคเอกชน จะร่วมมือกันแก้ปัญหา 3 ประเด็น ได้แก่ 1) การติดตามสถานการณ์ในเมียนมา ที่อาจมีผลกระทบต่อภาคการค้าและภาคธุรกิจ ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีผลกระทบ
ที่มีนัยสำคัญต่อไทย 2) การเร่งรัดการส่งออกของไทยปี 2564 ให้ขยายตัวร้อยละ 3.5-4 และ 3) การแก้ไขปัญหาอุปสรรคการส่งออกรถยนต์ และตู้คอนเทนเนอร์ที่ขาดแคลน
นายภูสิต รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า แถลงข่าว “ภาวะการค้าระหว่างประเทศของไทย ประจำเดือนมกราคม 2564” เมื่อวันอังคารที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องกิติยากรวรลักษณ์ สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
ภาพรวมการส่งออกไทยเดือนมกราคม 2564 มีมูลค่า 19,706.57 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 0.35 เมื่อหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และอาวุธยุทธปัจจัย พบว่าการ ส่งออกขยายตัวสูงถึงร้อยละ 7.57 สะท้อนการเติบโตจากภาคเศรษฐกิจจริง (Real Sector) ซึ่งการส่งออกของไทยระยะต่อไปน่าจะปรับตัวในทิศทางดีขึ้น สอดคล้องกับสัญญาณการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่เริ่มมีความชัดเจน